“รับเหมา” หวังโครงการภาครัฐกระตุ้นจ้างงาน-สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำอุ้มเอสเอ็มอี
สรุปง่ายๆ คือการลงทุนต้องสูงขึ้นและเป็นการลงทุนเพื่ออนาคตด้วย โดยเฉพาะการลงทุนภาคเอกชน เพราะรัฐบาลกลางอาจไม่ได้มีกำลังเท่า แต่เราหวังพึ่งรัฐวิสาหกิจได้ โดยเฉพาะรัฐวิสาหกิจใหญ่ๆ ที่มีเงินอยู่ในมือไม่น้อย เราอยากเห็นคนกลุ่มนี้ลงทุนในอุตสาหกรรมใหม่ แต่ก็ยังไม่ค่อยเห็นเท่าไหร่
“แน่นอนประเทศไทยเราพยายามสู้เต็มที่ อยู่นิ่งไม่ได้ แข่งขันทุกทาง จากเดิมที่เคยใช้กลยุทธ์คุณภาพก็เริ่มต้านเรื่องราคาไม่ไหว เพราะผู้บริโภคไม่มั่นใจเงินในกระเป๋าตัวเอง ฉะนั้นจึงละทิ้งเรื่องคุณภาพหันมาสนใจราคามากกว่า ถือเป็นเรื่องที่น่ากลัว มากในภาวะเศรษฐกิจปีนี้”
ในยามหัวเลี้ยวหัวต่อของบ้านเมือง ผู้คนสิ้นหวังกับปัจจุบัน หวาดหวั่นต่ออนาคต และสั่นคลอนกับอดีตของตนเอง
ผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ ที่คุณสะดวกหรือใช้งานอยู่แล้วได้เลย
ผมว่าในไทย สิ่งหนึ่งที่จำเป็นคือพึ่งตัวเองให้มาก หมั่นพัฒนาทักษะและศักยภาพของตัวเอง หาความรู้ความเข้าใจในอินเทอร์เน็ต ถ้ามีงานทำก็ต้องรู้ว่าจะเก็บออมอย่างไร อย่าลืมว่าตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ทำงานไปจนเกษียณก็ต้องแน่ใจว่ามีเงินเก็บพอ พยายามเพิ่มศักยภาพตนเองให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้
ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นขึ้นระหว่าง ‘จีน-ปากีสถาน-อัฟกานิสถาน’ ท่ามกลางการคว่ำบาตรต่อรัฐบาลตอฏิบานจากทั่วโลก
ช่วงหลังๆ เราเห็นกระแสกดดันการทำงานของ ธปท. เยอะมาก โดยเฉพาะในเรื่องการลดอัตราดอกเบี้ย ซึ่งไม่ค่อยเห็นสถานการณ์เช่นนี้มาก่อน เราพอวิเคราะห์ได้ไหมว่าเป็นเพราะอะไร
อัตราดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
สิ่งที่ควรทบทวนคือรัฐบาลจะตั้งเป้าเพิ่มงบลงทุนอย่างไร จะชักจูงให้เกิดบรรยากาศการลงทุนอย่างไร เพราะการมีนโยบายเอื้อให้เกิดการลงทุนในเรื่องใหม่ๆ อาจจะได้ประโยชน์มากกว่ากันเยอะ ผมว่าตรงนี้รัฐบาลต้องมองให้ขาดและทำให้ขาดด้วย เพราะถ้าเราจะหวังพึ่งจากดิจิทัลวอลเล็ตอาจไม่ได้คุ้มทุนขนาดนั้น และยังต้องระวังเรื่องการขายลดคูปองอีก (นำคูปองไปขายลดราคาจากมูลค่าเพื่อแลกเป็นเงินสด) อันนี้ก็เป็นประเด็นที่พูดกันนานแล้ว แต่ผมว่ารัฐบาลก็ยังไม่มีคำตอบ
โปรโมชั่นบริการอื่น ๆ อัตราดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม เอกสารข้อมูลสำคัญของผลิตภัณฑ์ ตรวจสอบสถานะเงินโอนต่างประเทศ ฉันมองหา
การจะบอกว่าไม่สอดคล้องกันต้องดูให้ดี เพราะหลายครั้งที่การคาดการณ์ต่างๆ เป็นการดูคนละช่วงเวลาแล้วมาเปรียบเทียบกัน ซึ่งมันไม่ใช่ มันต้องดูช่วงเวลาใกล้เคียงกันแล้วเราจะเห็นว่า จริงๆ แต่ละสำนักมีความเห็นคล้ายกัน
มิติ : อ่อน-แข็ง โลกสองใบของครัวเรือนฐานะการเงินอ่อนแอกับครัวเรือนฐานะการเงินเข้มแข็ง สะท้อนครัวเรือนไทยมีปัญหาความเหลื่อมล้ำเชิงความมั่งคั่งรุนแรงมาก โดยครัวเรือนที่มีฐานะการเงินอ่อนแอมีรายได้ไม่พอรายจ่าย และมีรายได้เข้ามาไม่สม่ำเสมอ เมื่อครัวเรือนที่มีฐานะการเงินอ่อนแอเผชิญสถานการณ์ที่ทำให้ขาดรายได้ โลกของครัวเรือนกลุ่มนี้จะได้รับผลกระทบมากกว่าและฟื้นตัวช้ากว่าครัวเรือนที่มีฐานะการเงินเข้มแข็ง
เรื่องที่สองคือการปรับโครงสร้าง learn more ที่แม้จะเห็นผลช้า แต่ต้องยิ่งทำให้เร็ว ผมว่าเราต้องปรับโครงสร้างหลายเรื่อง อย่างเรื่องที่ว่าเราไม่ได้ลงทุนและไม่มีอุตสาหกรรมเพราะต้องใช้เทคโนโลยีสูง คำถามคือเรามีเทคโนโลยีนั้นไหม ถ้าไม่มีเรานำเข้าได้ไหม ที่สำคัญกว่านั้นคือเรามีทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถเพียงพอที่จะทำงานควบคู่กับเทคโนโลยีใหม่นั้นได้หรือไม่
Comments on “An Unbiased View of เศรษฐกิจไทยครึ่งปีหลัง”